วันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
3.4 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การ ที่ ระบบ เครือ ข่าย มี บท บาท และ ความ สำคัญ เพิ่ม ขึ้น เพราะ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ได้ รับ การ ใช้ งาน อย่าง แพร่ หลาย จึง เกิด ความ ต้อง การ ที่ จะ เชื่อม ต่อ คอมพิวเตอร์ เหล่า นั้น ถึงกับเพื่อ เพิ่ม ขีด ความ สา มาร ถของ ระบบ ให้ สูง ขึ้น เพิ่ม การ ใช้ งาน ด้าน ต่าง ๆ และ ลด ต้น ทุน ระบบ โดย รวม ลง มี การ แบ่ง ใช้ งาน อุปกรณ์ และ ข้อ มูล ต่าง ๆ ตลอด จน สามารถ ทำ งาน ร่วม กัน ได้
อ่านต่อ
3.3 อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายนั้น ไม่จำเป็นจะต้องเป็นรุ่นเดียวกัน หรือประเภทเดียวกัน คุณสามารถนำเอาคอมพิวเตอร์หลากหลายรุ่น หลากหลายประเภทมาเชื่อมต่อกันได้ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องพีซี แมคอินทอช หรือยูนิกซ์เวิร์กสเตชัน โดยใช้คอนเน็กเตอร์ (Bridge) เป็นตัวเชื่อมระบบ
3.2 การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
อ่านต่อ
3.1 ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งโดยอาศัยสื่อหรือเครื่องมือต่างๆเป็นช่องทางในการสื่อสาร เช่น การสื่อสารด้วยท่าทาง ถ้อยคำ สัญลักษณ์ ภาพวาด จดหมาย โทรเลข เป็นต้น ต่อมาการสื่อวารข้อมูลได้พัฒนาและก้าวหน้าไปอย่างต่อเนื่อง มีการนำเทคโนโลยีด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ทำให้การติดต่อสื่อสารเกิดความสะดวก รวดเร็ว รวมทั้งได้รับข่าวสารทันเหตุการณ์อีกด้วย
อ่านต่อ
บทที่3 การสื่อสารข้อมูลสําหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสําหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในอดีตเทคโนโลยีการสื่อสารสามารถติดต่อสื่อสารได้ในวงแคบ โดยคอมพิวเตอร์สามารถส่งข้อมูลข่าวสารต่างๆ หากันได้ในระยะใกล้ๆ กันเท่านั้น ต่อมาได้ถูพัฒนาให้มีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขึ้น โดยมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องเข้าด้วยกัน ทำให้ผู้ใช้ทั่วทุกมุมโลกสามารถติดต่อสื่อสารและใช้เทคโนโลยีร่วมกันได้
อ่านต่อ
วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
2.4 การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน
การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน
โดยปกติแล้วเราสามารถหาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้หลาย ๆ วิธี ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของการสั่งซื้อโดยตรงกับบริษัทผู้ผลิตหรือใช้ตัวอย่างทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตได้ จึงพอสรุปวิธีการเลือกซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ดังนี้
อ่านต่อ
2.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย
อ่านต่อ
2.2 ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพ การนำข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล การสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการประสานงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์
อ่านต่อ
2.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การทำงานของคนทำงานได้ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นมีเพียงเฉพาะตัวอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์อยู่เพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถทำงานได้เป็นได้เพียงวัตถุชิ้นหนึ่งเท่านั้น การที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยซอฟต์แวร์ในการสั่งให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทำงานได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน
อ่้านต่อ
บทที่2 ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำนั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์ ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ กล่าวคือ ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ผู้ใช้มองไม่เห็นและสัมผัสไม่ได้ แต่สามารถรับรู้การทำงานได้ ต่างจากฮาร์ดแวร์ (Hardware)
อ่านต่อ
1.4 ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
1.4 ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Computer หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์ ในที่นี้จะกล่าวถึง Computer PC หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์ พีซี อะไรจะเป็นตัววัดความคุ้มค่าของ พีซี ได้ดีที่สุด เท่าที่เคยใช้ๆ ก็เห็นจะเป็นซอฟต์แวร์ทดสอบ หรือไม่ก็ราคาที่แพง บางคนก็มองแค่ภายนอกด้วยซ้ำว่าเครื่องนี้ดูสวยดี ใช้ซีพียูความเร็วสูงๆ แถมราคาสูงๆ ก็ซื้อเลย แต่ไม่ได้มองเจาะไปถึงการนำไปใช้งานของตัวเองเลยว่าจะนำไปใช้ได้เต็มประสิทธิภาพได้มากแค่ไหน
อ่านต่อ
1.3 หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
1.3 หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
การพิจารณาเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เป็นขั้นตอนสำคัญซึ่งเราควรทำความเข้าใจก่อนศึกษาเรื่องอื่นซึ่งเนื้อหาในบทนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ และการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์บางชิ้นในกรณีที่เราต้องการซื้ออุปกรณ์มาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เอง หรือเราต้องการอัพเกรดอุปกรณ์บางชิ้นภายในเครื่อง
อ่านต่อ
1.2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1.2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทำงานประสานงานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย |
ฮาร์ดแวร์(Hardware) ซอฟแวร์ระบบ (System Software) บุคลากร (People ware) ข้อมูล (Data) อ่านต่้อ |
1.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
1.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
เริ่มจากผู้ใช้ทำการกรอกข้อมูลหรือคำสั่งผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล
(Input Devices) ซึ่งข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆที่รับเข้ามาจะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก (Memory) จากนั้นก็จะถูกนำไปประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing) แล้วนำผลที่ได้จากการประมวลผลมาเก็บไว้ในหน่วยความจำแรม พร้อมทั้งแสดงออกทางอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) ดังนั้นระบบคอมพิวเตอร์จึงประกอบด้วย 4 ส่วนด้วยกัน
อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)